สายไฟ ดูแลอย่างไร

สายไฟ ดูแลอย่างไร ?

5 ขั้นตอนดูแลสายไฟ
1.หากสายไฟเก่า หรือหมดอายุการใช้งานควรเลือกใช้
2.ขนาดของสายไฟฟ้า ควรใช้ขนาดสายที่เหมาะกับปริมาณกระแสที่ไหลในสาย
3.จุดต่อสายไฟ การเข้าสายต้องขันให้แน่นและมีการพันฉนวนให้เรียบร้อย
4.สายไฟฟ้าต้องไม่เดินอยู่ใกล้สารเคมีหรือถูกของหนักทับ
5.สายไฟไม่ควรที่จะอยู่ใกล้หรือสัมผัสกับโครงเหล็ก รั้วเหล็ก ราวเหล็ก เพื่อป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่ว

     สายไฟ เป็นอีกหนึ่งอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ไม่ควรมองข้ามหรือขาดการดูแลเลย เพราะเป็นสิ่งดำเนินบ้านหรือโรงงาน มีไฟฟ้าใช้ หากการดูแลอาจจะส่งผลต่อชีวิตและทรัพย์สิน เช่น ไฟฟ้ารัดวงจร และหากมีคนไปสัมผัสก็จะโดนไฟช็อต และเป็นสาเหตุให้เกิดการเสียชีวิต

     สายไฟ เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้า ชนิดหนึ่งที่มีความจำเป็นต้องดูแลรักษา หากขาดการรักษา อาจจะส่งผลต่อชีวิตและทรัพย์สินของเจ้าของบ้านได้ เหตุการณ์ต่างๆที่จะเกิดขึ้น เมื่อขาดการดูแล สายไฟฟ้า เช่น ไฟฟ้ารัดวงจร เป็นสาเหตุทำให้ไฟฟ้า และหากมีคนไปสัมผัสก็จะโดนไฟช็อต และเป็นสาเหตุให้เกิดการตาย
แต่ทั้งนี้ เพื่อเป็นการป้องกัน จึงต้องมีวิธีการดูแลรักษาไฟฟ้า ซึ่งมีวิธีการดูแลดังนี้
 
1.หากสายไฟเก่า หรือหมดอายุการใช้งานควรเลือกใช้ สังเกตได้จากฉนวนจะแตกหรือแห้งกรอบบวม
2.ขนาดของสายไฟฟ้า ควรใช้ขนาดสายที่เหมาะกับปริมาณกระแสที่ไหลในสาย หรือ ให้เหมาสมกับเครื่องใช้ไฟฟ้าในวงจรนั้น
3.จุดต่อสายไฟ การเข้าสายต้องขันให้แน่นและมีการพันฉนวนให้เรียบร้อย
4.สายไฟฟ้าต้องไม่เดินอยู่ใกล้สารเคมีหรือถูกของหนักทับ เพราะเป็นสาเหตุที่ทำให้ฉนวนชำรุดง่าย ซึ่งก่อให้เกิดกระแสไฟฟ้ารัดวงจร
5.สายไฟไม่ควรที่จะอยู่ใกล้หรือสัมผัสกับโครงเหล็ก รั้วเหล็ก ราวเหล็ก หรือส่วนที่เป็นโลหะทั้งสิ้น และถ้าหลีกเลี่ยงได้ ไม่ควรจะเดินสายไฟฟ้าด้วยใช้ประกบหรือร้อยท่อให้เป็นเรียบร้อย เพื่อป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่ว
 
>>ดังนั้นเราควรหมั่นดูแลสายไฟ ตรวจสอบ เพื่อมั่นใจว่า ไม่มีไฟฟ้ารั่ว หรือสายไฟชำรุด จะได้ไม่เป็นอันตรายต่อผู้อาศัย หรือ ผู้ปฏิบัติงานในโรงงาน<<
 
เพิ่มเพื่อน - ติดต่อสอบถาม
 Line : @FACTORIPRO
 
ไลน์ Line FactoriPro
 
Visitors: 7,872