วิธีป้องกันอันตรายของสารทำความเย็น
การป้องกันอันตรายจากสารทำความเย็นชนิดต่างๆ
1. ฮาโลคาร์บอน (Halocarbons)
อันตราย : มีสถานะคงที่ มีความเป็นพิษต่ำ ติดไฟง่าย
เข้าแทนที่ออกซิเจน ทำให้สำลักได้
การป้องกัน : ติดตั้งเครื่องตรวจสอบและเตือนภัย จากการตรวจจับไอของสาร
ติดตั้งระบบพัดลมระบายอากาศ ซึ่งทำงานเมื่อปริมาณความเข้มข้น เกินอัตราที่กำหนด LEL (lower explosive limit)
2. แอมโมเนีย (Ammonia)
อันตราย : เป็นพิษ ติดไฟ
การป้องกัน : ติดตั้งเครื่องตรวจสอบและเตือนภัย จากการตรวจจับไอของสาร
ติดตั้งระบบพัดลมระบายอากาศ ซึ่งทำงานเมื่อปริมาณความเข้มข้น เกิน 1% (V/V) (P)
3. อีเทน โพรเพน บิวเทน ไอโซบิวเทน อีเทอลีน โพรไพลีน ( Ethane, propane, butane,
isobutane, ethylene, propylene)
อันตราย : อัตราการติดไฟสูง มีความเสี่ยงที่จะระเบิด
- การป้องกัน
1.ติดตั้งเครื่องตรวจสอบและเตือนภัย จากการตรวจจับไอของสาร
2.ติดตั้งระบบพัดลมระบายอากาศ ซึ่งทำงานเมื่อปริมาณความเข้มข้น เกิน 25% ของ LEL
3.สำหรับสารทำความเย็น กลุ่ม 1 และ 2 เครื่องตรวจจับไอ ของแยกวงจรไฟฟ้าที่ไม่มีการป้องกันทั้งหมด
4.ในพื้นที่อันตรายให้ใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ออกแบบสำหรับทำงานในพื้นที่
5.จัดให้มีอุปกรณ์ช่วยหายใจ ในพื้นที่ที่เสี่ยงอันตรายจากสารทำความเย็น
เพิ่มเพื่อน - ติดต่อสอบถาม
Line : @FACTORIPRO
Line : @FACTORIPRO