5 มาตรฐานเหล็กในงานอุตสาหกรรม มีอะไรบ้าง?
Tags: มาตรฐานเหล็ก, อุตสาหกรรม
5 มาตรฐานเหล็กในงานอุตสาหกรรม มีอะไรบ้าง?
5 มาตรฐานเหล็กในงานอุตสาหกรรม มีอะไรบ้าง?
1.) American Iron and Steel Institute เป็นมาตรฐานเหล็กในงานอุตสาหกรรม ที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน ได้แก่
- ตัวอักษร A จัดเป็น เหล็กประสมที่ผลิตจากเตาเบสเซมเมอร์ชนิดที่เป็นด่าง
- ตัวอักษร B จัดเป็น เหล็กประสมที่ผลิตมาจากเตาเบสเซมเมอร์ชนิดที่เป็นกรด
- ตัวอักษร C จัดเป็นเหล็กที่ผลิตจากเตาโอเพ็นฮารท์ชนิดที่เป็นด่าง
- ตัวอักษร D จัดเป็นเหล็กที่ผลิตจากเตาโอเพ็นฮารท์ชนิดที่เป็นกรด
- ตัวอักษร E จัดเป็นเหล็กที่ผลิตจากเตาไฟฟ้า ซึ่งทั้งหมดเป็นมาตรฐานเหล็กในงานอุตสาหกรรมที่อเมริกา
2.) Japaness Industrial Standards ถือเป็นมาตรฐานเหล็กญี่ปุ่นที่สามารถใช้งานได้เป็นอย่างดี
3.) Deutsch Institute Norms ถือเป็นมาตรฐานเหล็กของประเทศเยอรมัน จะแบ่งมาตรฐานของเหล็กออกเป็น 6 ประเภท ได้แก่ เหล็กกล้าคาร์บอน(หรือเหล็กไม่ประสม), เหล็กกล้าผสมต่ำ, เหล็กกล้าผสมสูง, เหล็กหล่อ และเหล็กกล้าคาร์บอน
4.) มาตรฐาน ASTM ถือเป็นมาตรฐานเหล็กในงานอุตสาหกรรมที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน
5.) มาตรฐาน TIS เป็นมาตรฐานการผลิตเหล็กของประเทศไทย
การที่จะใช้วัสดุต่างๆนั้น ต้องมีมาตรฐานการใช้งานของวัสดุแต่ละชนิด โดยวันนี้เราจะมาพูดถึงมาตรฐานของเหล็กว่ามีกี่มาตรฐานและแต่ละมาตรฐานเป็นอย่างไรบ้าง
American Iron and Steel Institute ถือเป็น มาตรฐานเหล็กในงานอุตสาหกรรม ที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน เนื่องจาก หากผ่านมาตรฐานตัวนี้ ก็สามารถใช้งานได้ในหลายอุตสาหกรรม ซึ่งระบบนี้เขาจะมีตัวอักษรบอกส่วนผสมในการผลิตเหล็ก ได้แก่ ตัวอักษร A จัดเป็น เหล็กประสมที่ผลิตจากเตาเบสเซมเมอร์ชนิดที่เป็นด่าง
ส่วนตัวอักษร B จัดเป็น เหล็กประสมที่ผลิตมาจากเตาเบสเซมเมอร์ชนิดที่เป็นกรด ส่วนตัว C จัดเป็นเหล็กที่ผลิตจากเตาโอเพ็นฮารท์ชนิดที่เป็นด่าง และตัวอักษร D จัดเป็นเหล็กที่ผลิตจากเตาโอเพ็นฮารท์ชนิดที่เป็นกรด และ E จัดเป็นเหล็กที่ผลิตจากเตาไฟฟ้า ซึ่งทั้งหมดเป็นมาตรฐานเหล็กในงานอุตสาหกรรมที่อเมริกา
Japaness Industrial Standards ถือเป็นมาตรฐานเหล็กญี่ปุ่นที่สามารถใช้งานได้เป็นอย่างดี และมีความสะดวกสบายในการใช้งาน ซึ่งเป็นเหล็กที่ผ่านมาตรฐานของประเทศญี่ปุ่น ทำให้เป็นเหล็กที่ทั่วโลกยอมรับ เพราะในปัจจุบันมาตรฐานในการผลิตเหล็กของประเทศญี่ปุ่นกำลังเป็นที่ต้องการของตลาดโลก
Deutsch Institute Norms ถือเป็นมาตรฐานเหล็กของประเทศเยอรมัน แต่สูสีกับมาตรฐานเหล็กอเมริกาเลย เพราะได้รับความนิยมจากตลาดโลกไม่แพ้กัน และสามารถใช้งานได้อย่างสะดวกสบาย ซึ่งมีการระบุเกณฑ์มาตรฐานต่างๆ ไว้มากมาย ซึ่งเหล็กที่ผ่านเกณฑ์เท่านั้น จึงจะสามารถนำมาจำหน่ายได้ในตลาด
ซึ่งตามหลักเกณฑ์ของประเทศเยอรมัน จะแบ่งมาตรฐานของเหล็กออกเป็น 6 ประเภท ได้แก่ เหล็กกล้าคาร์บอน(หรือเหล็กไม่ประสม), เหล็กกล้าผสมต่ำ, เหล็กกล้าผสมสูง, เหล็กหล่อ และเหล็กกล้าคาร์บอน (หรือเหล็กไม่ประสม) ซึ่งเหล็กทั้งหมดที่กล่าวมา ถูกใช้ในงานอุตสาหกรรมต่างๆ มากมายเหมือนเหล็ก ss400ในเมืองไทย
มาตรฐาน ASTM ถือเป็นมาตรฐานเหล็กในงานอุตสาหกรรมที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน และสามารถใช้งานได้อย่างง่ายดาย เพราะหลักเกณฑ์นี้จะมีค่ามาตรฐานของเหล็ก และมีตัวกำหนดค่าต่างๆ มากมาย ทำให้สามารถเลือกไปใช้งานได้ตามคุณสมบัติและตามตัวเลขที่กำหนดค่าของเหล็กว่าเหมาะกับงานประเภทไหนนั้นเอง
มาตรฐาน TIS เป็นมาตรฐานการผลิตเหล็กของประเทศไทย ซึ่งส่วนมากก็จะมีมาตรฐานไล่เลี่ยกับมาตรฐานเหล็กญี่ปุ่นเลย เนื่องจากทางไทยได้นำเข้าศิลปะวิทยาการต่างๆ มาจากประเทศญี่ปุ่น ซึ่งมาตรฐาน TIS ย่อมาจาก มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ตามข้อกำหนดของสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.)
>>> จบกันไปแล้วสำหรับเนื้อหาที่เรานำเสนอวันนี้ และครั้งต่อไปเราจะนำเสนอเรื่องใด สามารถติดตามพวกเราได้หรือเยี่ยมชมและรับข่าวสารต่าง ๆ ได้ที่
Facebook : FACTORIPRO
Youtube : FACTORIPRO
Website : www.FactoriPro.com
Facebook : FACTORIPRO
Youtube : FACTORIPRO
Website : www.FactoriPro.com
เพิ่มเพื่อน - ติดต่อสอบถาม
Line : @FACTORIPRO
Line : @FACTORIPRO